Grammar

บทที่ 1 คำนาม
คำนาม (Nouns) คือคำที่ใช้เรียก คน สัตว์ สิ่งของ มีรายละเอียดของคำนามดังต่อไปนี้
1.1 ชนิดของคำนาม (Kind of Nounns) แบ่งออกเป็น 5 ชนิด ดังนี
1. คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะ วิสามานยนาม (Proper Noun) ชื่อคน ชื่อสัตว์ที่ตั้งชื่อให้เฉพาะ ชื่อสถานที่ ชื่อสิ่งของ เช่น Malee , Peter, Bangkok , etc
2. คำนามที่เป็นชื่อทั่วไป หรือสามานยนาม (Common Noun) เช่น man , boy,teacher ,
3. คำวัตถุนาม (Material Noun) ได้แก่ rice , coffee , food , etc.
4. คำนามที่ใช้เรียกกลุ่ม เช่น family,committee (คณะกรรมการ)
5. คำนามที่เป็นนามธรรม (Abstract NOun) ได้แก่ คำนามที่เป็นความรู้สึกนึกคิด (ไม่ใช่ คน สัตว์ หรือ สิ่งของ) เช่น peace (สันติภาพ) , toverty (ความยากจน) , wisdom (ปัญญา) , etc.
1.2 พจน์ของคำนาม (Number of noun) มี 2 ชนิด
1.3 คำนามเอกพจน์ (Singular Noun) ได้แก่ คำนามที่เป็นเพียงหนึ่ง หรือ สิ่งเดียว คนเดียว ตัวเดียว เป็นต้น
คำนามพหูพจน์ (Plural Noun) ได้แก่ คำนามที่เป็นหลายสิ่ง หลายตัว เป็นต้น

บทที่ 2 คำนำหน้านาม (ARTICLES)
คำนำหน้านามมี 2 ชนิด ได้แก่ a, an เรียกว่า Indefinite Article และthe
เรียกว่า DEfinite Article
A ,AN : A ใช้นำหน้าคำนามที่มีอักษรคำหน้าด้วย พยัญชนะ
AN ใช้นำหน้าคำนามที่มีอักษรนำหน้าด้วย สระ
1. ใช้นำหน้านามที่มีความหมาย หนึ่งเดียว เช่น I am a Thai.
2. ใช้ในความหมายแทน กลุ่ม เช่น A cow is animal. An ant is a small now.
3. ใช้ในการวัด มีความหมายตรงกับคำ “per” (ต่อ) เช่น ninety miles an hour. One hundred bath a dozen
5. ใช้กับคำนามเฉพาะที่เป็นที่รู้จักกันดี ในความหมายว่า “หนึ่งในหลาย”
6. ใช้ในรูป What a + (นามที่นับได้เอกพจน์)
How + adjective + a + (นามที่นับได้เอกพจน์

บทที่ 3 คำสรรพนาม (PRONOUNS)
คำสรรพนาม (Pronouns) เป็นคำแทนชื่อ เช่น MR.Smith เป็นคำนาม แต่เราไม้เรียกชื่อ เราจะใช้ “he” แทนได้ คำ pronoun ได้แก่ I , you , he , she , it , they , them , her , him , me , we , us , who , whom , which , whose , etc. และมีรายละเอียดดังนี้
3.1 ประเภทของสรรพนาม
1. Personal Pronoun บุรุษสรรพนามแบ่งเป็น 3 บุรุษได้แก่ ผู้พูด (บุรุษที่1 : first person) ผู้ฟังหรือ ผู้ที่พูดด้วย (บุรุษที่2 : second person) และผู้ที่ถูกกล่าวถึง (บุรุษที่3 : third person)
First person ได้แก่ I , we , us ,
Second person ได้แก่ you
Third person ได้แก่ he , she , it , they , him , her , them
2. Reflexive Pronoun or Emphatic Pronoun ได้แก่ คำสรรพนามที่เน้นย้ำ ได้แก่ myself yourself , himself , herself , itself , ourselves , yourselves , themselves
3. Relative Pronoun ได้แก่ คำสรรพนามที่ทำหน้าที่เชื่อมกับคำนามที่มาข้างหน้า เรียกว่า antecedent ทำให้เกิดเป็นประโยคย่อย ประโยคช่วย (subordinate clause) คำที่เป็น relative pronoun ได้แก่ that , who , which , whose , what , as , whoever , whichever
4. Interrogative Pronoun ได้แก่ สรรพนามที่ทำหน้าที่เป็นคำถาม (Question words) เช่น who , what , whom , which , whose , etc.
5. Possessive Pronoun ได้แก่ คำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ เช่น mine , yours , his , hers , ours , theirs
6. Demonstrative Pronoun หมายถึง คำสรรพนามที่แสดงความจำเพาะเจาะจง ได้แก่ this , that , these , those , these
7. Indefinite Pronoun หมายถึง คำสรรพนามที่ใช้แทนคน สัตว์ สิ่งของโดยทั่วๆไป ได้แก่ everyone everybody , everything , someone , somebody , something , nobody , nothing , anyone , anybody , anything , some , any , all , several , few
8. Distributive Pronoun หมายถึง คำสรรพนามที่ใช้แทนบุคคล หรือ สิ่งของ ในชั่วขณะหนึ่ง และถือเป็น
เอกพจน์ เช่น Each of the girls has a comb .
3.2 พจน์ของสรรพนาม แยกเป็น เอกพจน์ (Singular) และพหูพจน์ (Plular)
Singular Plural
First Person I , me we , us
mine ours
Second Person thou thee he, she ,it you, yours, they
Third Person him , herhis , hers them,their
3.3 พจน์ของสรรพนาม (Gender or pronoun)
Singular Plural
Masculine,Feminin,Neuter all gender
He She It They
Him Her It Them
His Hers Its Theirs
3.4 หน้าที่สรรพนาม ในประโยค
คำสรรพนาม ทำหน้าที่เป็น ประธาน (Subject) ของประโยคหรือเป็นกรรมของประโยค (Object) การแสดงเป็นเจ้าของ (possessive) และคำเน้น (self form) มีการสัมพันธ์กัน

บทที่ 4 คำคุณศัพท์ (ADJECTIVES)
คำคุณศํพท์เป็นคำขยายนามหรือ สรรพนาม (Noun or Pronoun) ให้มีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น
4.1 ประเภทของคำคุณศัพท์ มี 7 ชนิด ดังต่อไปนี้
3. Quantitative Adjective เป็นคุณศัพท์ที่บอกปริมาณสำหรับ noun หรือ pronoun ที่นับไม่ได้ เช่น
He drinks a little water.
4. Numeral Adjective ได้แก่คำคุณศัพท์ที่บอกจำนวนหรือตัวเลข แยกได้ 2 ชนิด
– Definite Numberal Adjective ได้แก่คุณศัพท์ที่ใช้บอกจำนวนที่แน่นอน
– Indefinite Number Adjedtive ได้แก่คุณศัพท์ทีใช้บอกจำนวนแต่ไม่แน่นอน few , all , some , a few , many , enough , any
5. Distributive Adjective หมายถึง คุณศัพท์ที่ใช้แสดงการ “แจกจ่าย” บุคคลหรือสิ่งของ เมื่อมีการใช้ คุณศัพท์ชนิดนี้แล้ว จะทำให้คำนามเป็น เอกพจน์ (singular) เช่น Each boy has a book.
6. Demonstrative Adjective หมายถึง adjective ที่เป็นตัวบ่งชี้ คำสรรพนาม ที่แสดง “เจาะจง” (dejective) และ “ไม่เจาะจง” (indefinite)
7. Interrogative Adjective หมายถึงคุณศัพท์ที่ใช้ในการตั้งคำถาม ข้อสังเกตคือ คำคุณศัพท์ต้องขยายคำนาม ถ้าอยู่ โดดเดี่ยวไม่ขยายคำใด คำนั้นจะเป็นคำสรรพนาม (Interrogative Pronoun)
4.2 Comparison Degree หมายถึง คุณศัพท์ที่ใช้เปรียบเทียบ การเปรียบเทียบมี 3 ระดับ ได้แก่ ขั้นปกติ (Positve degree) ขั้นกว่า (comparative degree) และขั้นสุด (superlative degree)
บทที่ 5 คำกริยา (VERBS)

คำกริยาแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ กริยาแท้ และกริยาไม่แท้
1. กริยาแท้ (Finite vervs) หมายถึง อาการที่แสดงออกหรือการบังเกิดขึ้นของสิ่งต่างๆ ที่ถูกจำกัด
2. กริยาไม่แท้ (Non – finite Verbs) ได้แก่ กริยาที่ไม่ถูกจำกัด
5.1 กริยาแท้
5.1.1 Kind of Finite Verb มี 3 ชนิด
1. Transitive Verbs คือ สกรรมกริยา หมายถึงกริยาที่ต้องมีกรรมมารับ
She reads an English tale.
2. Intransitive Verb คือ อกรรมกริยา หมายถึง กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ
The sun sets . Water flows.
3. Auxiliary Verbs หมายถึงกริยาช่วย มีทั้งหมด 6 ตัว ได้แก่ have , be , shall , will , may , do เช่น
He has done many things .
การใช้ Auxiliary Verbs
1. ใช้ have เพื่อสร้าง perfect tense ซึ่งมีรูปเป็น to have + past participle เช่น
He has run away .
ข้อสอบ
1. คำนาม (Nouns) คือคำที่ใช้เรียกอะไร
    คน สัตว์ สิ่งของ
2. ชนิดของคำนาม (Kind of Nounns) แบ่งออกเป็นกี่ชนิด
    5 ชนิด
3. คำนามที่เป็นนามธรรม (Abstract NOun) ได้แก่อะไรบ้าง
    คำนามที่เป็นความรู้สึกนึกคิด (ไม่ใช่ คน สัตว์ หรือ สิ่งของ) เช่น peace (สันติภาพ) , toverty (ความยากจน) , wisdom         (ปัญญา) , etc.
4. พจน์ของคำนาม (Number of noun) มีกี่ชนิด
    2 ชนิด
5. คำนำหน้านามมี 2 ชนิด ได้แก่อะไรบ้าง
    a, an เรียกว่า Indefinite Article และ theเ รียกว่า DEfinite Article
6.  Personal Pronoun บุรุษสรรพนามแบ่งเป็น 3 บุรุษได้แก่อะไรบ้าง
     ผู้พูด (บุรุษที่1 : first person) ผู้ฟังหรือ ผู้ที่พูดด้วย (บุรุษที่2 : second person) และผู้ที่ถูกกล่าวถึง (บุรุษที่3 : third            person)
7. คำสรรพนาม ทำหน้าอะไร
    ประธาน (Subject) ของประโยคหรือเป็นกรรมของประโยค (Object) การแสดงเป็นเจ้าของ (possessive) และคำเน้น (self       form) มีการสัมพันธ์กัน
8.  ประเภทของคำคุณศัพท์ มีกีชนิด
     7 ชนิด 
9. Distributive Adjective หมายถึงอะไร
    คุณศัพท์ที่ใช้แสดงการ “แจกจ่าย” บุคคลหรือสิ่งของ เมื่อมีการใช้ คุณศัพท์ชนิดนี้แล้ว จะทำให้คำนามเป็น เอกพจน์               (singular) เช่น Each boy has a book.
10. Kind of Finite Verb มีกี่ชนิด อะไรบ้าง
     3 ชนิด
     1. Transitive Verbs คือ สกรรมกริยา หมายถึงกริยาที่ต้องมีกรรมมารับ
     She reads an English tale.
     2. Intransitive Verb คือ อกรรมกริยา หมายถึง กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ
     The sun sets . Water flows.
     3. Auxiliary Verbs หมายถึงกริยาช่วย มีทั้งหมด 6 ตัว ได้แก่ have , be , shall , will , may , do เช่น
     He has done many things .
     การใช้ Auxiliary Verbs
   

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น